การออสโมซิส (อังกฤษ: Osmosis) เป็นกระบวนการแพร่โมเลกุลของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่าน.[1] จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำมาก
(สารละลายความเข้มข้นต่ำ)
ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำน้อย (สารละลายความเข้มข้นสูง)
กระจายจนกว่าโมเลกุลของน้ำจะเท่ากัน
เป็นกระบวนการทางกายภาพที่ตัวทำละลายจะเคลื่อนที่โดยอาศัยพลังงานความร้อน
ผ่านเยื่อเลือกผ่าน (ซึ่งตัวทำละลายจะผ่านเยื่อเลือกผ่านได้
แต่สารละลายจะไม่สามารถผ่านเยื่อเลือกผ่านได้[2])
การออสโมซิสก่อให้เกิดพลังงาน
และสามารถสร้างแรงได้[3] อ่านเพิ่มเติม
วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559
การแพร่
การแพร่
การแพร่ เป็นการกระจายตัวของโมเลกุลของสสารจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า
ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าด้วยการเคลื่อนที่เชิงสุ่มของโมเลกุล การแพร่จะทำให้
เกิดการผสมของวัสดุอย่างช้าๆ สำหรับเฟสหนึ่งๆของวัสดุใดๆก็ตามที่มีอุณหภูมิสม่ำเสมอ
และไม่มีแรงภายนอกมากระทำกับอนุภาคกระบวนการแพร่ก็จะยังคงเกิดถึงแม้ว่า
จะสารจะผสมกันโดยสมบูรณ์หรือเข้าสู่ภาวะสมดุลแล้ว โดยพื้นฐานแล้ว
การเคลื่อนที่ของโมเลกุล
จากพื้นที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่ความเข้มข้นที่ต่ำกว่าเรียกว่าการแพร่ทั้งสิ้น
การรักษาดุลยภาพของกรด-เบส ในร่างกายคน
การรักษาดุลยภาพของกรด-เบส ในร่างกายคน
การรักษาสมดุลของกรด เบสในร่างกาย
การรักษาดุลภาพของน้ำและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การรักษาดุลภาพของน้ำและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมต่อเซลล์ด้วย ดังนั้นในโครงสร้างร่างกายของสิ่งมีชีวิตจึงจำเป็นต้องมีระบบการรักษาดุลยภาพของสารต่าง ๆ เพื่อช่วยควบคุมปริมาณสารต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมต่อการทำงานของเซลล์อยู่เสมอ โดยระบบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุของพืช สัตว์ต่าง ๆ รวมถึงมนุษย์จะมีความแตกต่างกันดังนี้
การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมต่อเซลล์ด้วย ดังนั้นในโครงสร้างร่างกายของสิ่งมีชีวิตจึงจำเป็นต้องมีระบบการรักษาดุลยภาพของสารต่าง ๆ เพื่อช่วยควบคุมปริมาณสารต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมต่อการทำงานของเซลล์อยู่เสมอ โดยระบบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุของพืช สัตว์ต่าง ๆ รวมถึงมนุษย์จะมีความแตกต่างกันดังนี้
กลไกลการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช
กลไกลการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช
การรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช
กลไกสำคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช คือ
ควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้ำผ่านปากใบและการดูดน้ำที่ราก
ถ้าคายน้ำมากก็ต้องดูดน้ำเข้าทางรากมากเช่นกัน ส่วนมากจะคายน้ำที่ปากใบ
การคายน้ำทางปากใบ เรียกว่า สโตมาทอล ทรานสพิเรชัน ( stomatal
transpiration ) เป็นการคายน้ำที่เกิดขึ้นมากถึง 90 %
ลักษณะของปากใบ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)